|
|
|
|
การตั้งถิ่นฐานอาคารบ้านเรือนของตำบลน้ำตาล มีลักษณะการเกาะกลุ่มกัน มีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ นับถือลำดับอาวุโส สภาพชุมชนแบบกึ่งชนบทกึ่งเมือง มีความสามัคคีและสงบเรียบร้อย |
|
|
|
|
|
วัดมีจำนวน 5 แห่ง ได้แก่ |
|

 |
วัดราษฎร์บำรุง ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 |

 |
วัดศรีจุฬามณี ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
|

 |
วัดทอง ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |

 |
วัดโฆสิทธาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 |
|

 |
วัดศรีสำราญ ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 |
|
|
|
|
|
|
|
โรงเรียน จำนวน 3 แห่ง |
|

 |
โรงเรียนวัดโฆสิทธาราม |

 |
โรงเรียนวัดทอง |
|

 |
โรงเรียนสามัคคีวิทยา |
|
|
|
วิทยาลัยอาชีวศึกษา จำนวน 1 แห่ง |
|

 |
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี |
|
|
|
|
|
|
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำตาล |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ภายในเขตตำบลน้ำตาล ได้แก่ |
|

 |
สายตรวจประจำ ตำบล 1 แห่ง |

 |
ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 1 ศูนย์ (อปพร.) |
|
|
|
|
|
ชาวบ้านตำบลน้ำตาลยังดำเนินชีวิตแบบเรียบง่าย มีประเพณีประจำหมู่บ้านดังที่เคยมีในอดีต คือ |
|

 |
เดือนอ้าย
มีงานบุญเผาข้าวหลาม |

 |
เดือน 3 งานบุญมาฆบูชา |
|

 |
เดือน 4 ประเพณีตรุษ |

 |
เดือน 5 ประเพณีสงกรานต์
(จะจัดงานรถน้ำดำหัวผู้อาวุโสประจำหมู่บ้านในวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี) |
|

 |
เดือน 6 งานบุญวันวิสาขบูชา |

 |
เดือน 8
เข้าพรรษา |
|

 |
เดือน 11 ออกพรรษา ตักบาตรเทโว |

 |
เดือน 12 ลอยกระทง |
|

 |
และมีงานไหว้พระ ไหว้ศาลเจ้าตามโอกาส
ซึ่งทำให้ประชาชนมีโอกาสพบปะพูดคุย สร้างความผูกพันอันนำไปสู่ ความร่วมมือร่วมใจกันพัฒนาหมู่บ้าน |
|